องค์กรพิทักษ์สัตว์แห่งโลก ประเทศไทย
You are here:
Showing 1 to 9 of 28 results
Loading
An error occurred. Please try again
No Results Found
บล็อก
แผ้ว ภิรมย์
“สัปดาห์รู้รักษ์ ตระหนักปัญหาเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ (WAAW)” เป็นโอกาสที่ดีในการสะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างมีความรับผิดชอบในฟาร์มอุตสาหกรรม
หทัย ลิ้มประยูรยงค์
กลับจากการเดินทางที่ช้างชิลเมื่อปีที่ผ่านมา ผ่านคำถามที่หลากหลายจากลูกสาวตัวน้อย มาปีนี้แม่มีโอกาสพาพี่ๆ นักข่าว ที่สนใจลงพื้นที่ ไปแอบดูช้างบนผืนดินกว่า 140 ไร่
ฐิวารี วีรยะสบประสงค์
ข้าวโพด 🌽 ไก่ 🐓 คนป่วย 😷 เกี่ยวข้องให้ต้องร่วมด้วยช่วยกัน 🤝 อย่างไร หากใครพลาดงานเสวนา “ควันข้าวโพดโคตรดีเยี่ยม?” ที่ตีแผ่เบื้องหลังการเพิ่มขึ้นกว่า 116% ของผู้ป่วยจากมลพิษทางอากาศ ซึ่งมีจำนวนกว่า 10.5 ล้านคนในปี...
จากการยื่น ‘ร่าง พ.ร.บ.ช้างไทย’ ฉบับภาคประชาสังคม ที่มีผู้สนับสนุนกว่า 15,938 คน แก่รัฐสภา ตั้งแต่ปี 2565 ขณะนี้ ร่าง พ.ร.บ. ฉบับดังกล่าวอยู่ไหนแล้ว?
“แม่ดู Happy elephants สนุกไหมคะ?” คำถามแรกจากลูกสาววัยสามขวบหลังจากแม่เดินทางไปปาง ‘ช้างชิล (ChangChill)’ จังหวัดเชียงใหม่ ว่าแล้วแม่ก็เล่าถึงความสนุกของทริปแอบดูช้างที่ช้างชิลให้เจ้าตัวเล็กที่ดูสนอกสนใจ เพราะนางชอบช้างเป็นทุนเดิม...
ปรมะ จันทรุกขา (ป๊อป)
อาสาพาไป Following Giants สัมผัสปางช้างที่รักช้างด้วยใจ
โชคดี สมิทธิ์กิตติผล
วิกฤติเชื้อดื้อยาเป็นปัญหาที่มีความเชื่อมโยงกับสุขภาพของคน สัตว์และสิ่งแวดล้อมอย่างแยกออกจากกันไม่ได้ตามหลักการสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health Concept) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคปศุสัตว์ ที่การดำเนินงานที่เกิดขึ้นเน้นที่ให้ความรู้เรื่องการใช้ยาปฎิชีวนะอย่างสมเหตุสมผล การใช้สารทดแทนต่างๆ หรือแม้แต่การเลี้ยงโดยไม่ใช้ยาปฏิชีวนะเลย แต่ต้นตอสำคัญที่ทำให้เกิดการใช้ยาปฏิชีวนะที่เกินความจำเป็นในสัตว์ฟาร์มนี้กับถูกละเลยที่จะให้ความสำคัญ ซึ่งก็คือเรื่องสวัสดิภาพสัตว์ที่ย่ำแย่นั่นเอง
ดี ดริญญา โตตระกูล
เน้นให้ความสำคัญกับสวัสดิภาพของช้างตามกรอบการเป็นมิตรต่อช้างขององค์กรพิทักษ์สัตว์แห่งโลก ปางช้างบีตั้งอยู่ที่อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีผู้ก่อตั้งคือคุณเบิ้มและคุณเอมิลี่ ซึ่งชื่อของทั้งสองคนก็เป็นที่มาของชื่อปางช้างนั่นเอง นับเป็นเวลากว่า 10 ปี เข้าสู่ปีที่ 11 แล้ว ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งบีเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม ปี 2011
สัตวแพทย์หญิงชนัดดา เครือประดับ (หมอนิ้ง)
ช้างเป็นสัตว์ป่าที่ถูกนำมาใช้งาน และให้ความบันเทิงแก่นักท่องเที่ยวเป็นเวลานาน หลายครั้งที่เห็นช้างต้องถูกฝึกให้เชื่องด้วยการทำร้ายเพื่อทำการแสดง ถูกล่ามด้วยโซ่สั้นๆ ไม่สามารถปฏิสัมพันธ์กับช้างตัวอื่นๆ ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้มากนัก และไม่มีโอกาสได้แสดงออกถึงพฤติกรรมตามธรรมชาติ ก็ทำให้รู้สึกสลดใจ ช้างนับพันตัวในอุสาหกรรมการท่องเที่ยวต้องประสบกับความเครียดจากสภาพความเป็นอยู่ที่ย่ำแย่ อีกทั้งอาหารที่ช้างได้รับมักไม่หลากหลายซึ่งอาจส่งผลต่อสุขภาพของช้างได้ในระยะยาว